วันจันทร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559



งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์
ณ เมืองทองธานี
18-28 สิงหาคม 2559
9.00-19.00 น.
อาคารอิมแพ็ค Hall 2-8 เมืองทองธานี






















บันทึกการเรียนครั้งที่ 4 
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2559


ความรู้ที่ได้รับ
  1. อธิบายแนวการสอน
  2. ทบทวนพยัญชนะไทย 
  3. แบ่งกลุ่ม 5 คน คิดวิธีการสอนในหัวข้อ "อากาศ"
พยัญชนะไทย




เรื่อง อากาศ
อุปกรณ์

1.กระดาษ
2.คลิป



โจทย์ : ใช้กระดาษ และ คลิป คิดวิธีการสอน ในเรื่องของอากาศ

กลุ่มที่ 1 เรื่อง ฤดูฝน

กลุ่มที่ 2 เรื่อง พัด


วิธีการสอน
  1. ร้องเพลง 
  2. ถามเด็กๆ ว่า " ถ้าอากาศร้อนเราจะใช้อะไรแทนพัดลมแอร์ได้ ? 
  3. อธิบายความหมายของพัด
  4. สอนวิธีพับพัดด้วยกระดาษ



กลุ่มที่ 3 เรื่อง กังหันลม
กลุ่มที่ 4 เรื่อง แรงต้านอากาศ
กลุ่มที่ 5 เรื่อง ฤดูกาล
กลุ่มที่ 6 เรื่อง ลมบกลมทะเล






วิธีการกำหนดหน่วยการสอน 
หาความหมายของคำว่า "อากาศ" คือ ลมมีการเคลื่อนที่


กระบวรการทางวิทยาศาสตร์
  1. ตั้งปัญหา
  2. ตั้งสมมุติฐาน
  3. ทดลอง
  4. สรุปผล
วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
  1. สมอง
  2. พัฒนาการ
  3. คุณลักษณะตามวัย
  4. ธรรมชาติของเด็ก:พฤติกรรมองค์รวม

  • assimilation : การซึมซับ
  • accommodation : ปรับความรู้ใหม่









บันทึกการเรียนครั้งที่ 3
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.2559


ความรู้ที่ได้รับ

- รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย
- คุณลักษณะตามวัยของเด็กอายุ 3-5 ปี
- ทฤษฏีการเรียนรู้
- การพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
- การเรียนรู้แบบองค์รวม



ทฤษฏีการเรียนรู้

พาฟลอฟ

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) 
     ผู้ที่ทำการศึกษาทดลองในเรื่องนี้คือ พาฟลอฟ (Pavlov) ทำการศึกษาทดลองกับสุนัข โดยฝึกสุนัขให้ยืนนิ่งอยู่ในที่ตรึงในห้องทดลอง ที่ข้างแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้ำลาย การทดลองแบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ ก่อนการวางเงื่อนไข ระหว่างการวางเงื่อนไข และหลังการวางเงื่อนไข

ขั้นที่ 1 เสียงกระดิ่ง (CS) ไม่มีน้ำลาย ผงเนื้อ (UCS) น้ำลายไหล (UCR)
ขั้นที่ 2 เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล (UCR) และผงเนื้อ (UCS) ทำขั้นที่ 2 ซ้ำกันหลายๆครั้ง
ขั้นที่ 3 เสียงกระดิ่ง (CS) น้ำลายไหล (CR) 
        การเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคคือการตอบสนองที่เป็นไปโดยอัตโนมัติเมื่อนำสิ่งเร้าใหม่มาควบคู่กับสิ่งเร้าเดิม ซึ่งนักจิตวิทยาเรียกพฤติกรรมการตอบสนองนี้ว่าพฤติกรรมเรสปอนเด้นท์

     Pavlov พบว่า ถ้าสั่นกระดิ่งพร้อมกับการให้อาหารทุกครั้งสุนัขที่หิวเมื่อเห็นอาหารหรือได้กลิ่นจะหลั่งน้ำลายหลังจากการฝึกเช่นนี้มานาน เสียงกระดิ่งเพียงอย่างเดียวสามารถทำให้สุนัขหลั่งน้ำลายได้ การทดลองนี้สิ่งเร้าคือ อาหารเป็นสิ่งเร้าที่แท้จริง หรือ สิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข ( unconditioned stimulus ) ส่วนเสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าไม่แท้จริงหรือ สิ่งเร้ามีเงื่อนไข ( conditioned stimulus )


วัตสัน (Watson)

การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ( การทดลองของ Watson )
   ความรู้สึกบางอย่างมีมาตั้งแต่กำเนิด เช่น ความรัก ความโกรธ ความกลัว ฯลฯ
การทดลองของ Watson

   วัตสันได้ทำการทดลองเกี่ยวกับการเรียนรู้ของคน โดยใช้เด็กชาย Albert อายุประมาณ 2 ขวบ โดยที่เขาให้ข้อสังเกตว่า โดยธรรมชาติแล้วเด็กๆจะกลัวเสียงที่ดังขึ้นมาอย่างกะทันหัน จุดประสงค์ของการทดลองคือการให้ Albert เอื้อมมือจะจับหนู Watson ใช้ค้อนตีเหล็กเสียงดังสนั่น เด็กแสดงอาการตกใจกลัว หลังจากนั้น เด็กแสดงอาการกลัวหนูถึงแม้ไม่ได้ยินเสียงฆ้องตีดังๆ ก็ตาม ในสถานการณ์เช่นรี้เด็กเกิดการเรียนรู้ชนิดเชื่อมโยงระหว่างเสียงดัง ซึ่งทำให้เด็กเกิดความกลัวขึ้นตามธรรมชาติกับหนู
  
     จากการทดลองของ Watson ปรากฎว่า Albert มิได้กลัวแต่เพียงหนูเท่านั้น แต่จะกลัวสัตว์มีขนทุกชนิด รวมทั้งเสื้อที่มีขนด้วย ความสำเร็จครั้งนี้ของวัตสัน ทำให้เขาคิดว่าเขาจะสามารถควบคุมพฤติกรรมทุกชนิดของคนได้


กีเซลล์ (Gesell)

1.ของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน 
2.เด็กควรพัฒนาไปตามธรรมชาติไม่ควรเร่งหรือบังคับ
3.การเรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวการใช้ภาษาการปรับตัวเข้าสังคมกับบุคคลรอบข้าง 
4.การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ให้เด็กได้เล่นกลางแจ้ง 
5.จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ฝึกการใช้มือและประสาทสัมพันธ์มือกับตาจัดกิจกรรมให้เด็กได้ฟัง ได้พูดท่องคำ  

ฟรอยด์ ( Freud )
    1. ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ 
    2. หากเด็กไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเพีงพอจะเกิดอาการชะงัก พฤติกรรมถดถอย คับข้องใจ ส่งผลประสบการณ์ลต่อพัฒนาการของเด็กการปฏิบัติการพัฒนาเด็ก 
    3. ครูเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งการแสดงออก ท่าที วาจา 
    4. จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอน จากง่ายไปหายาก
    5. จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนเพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก
    • อิริคสัน ( Erikson )
    1. ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจ ประสบผลสำเร็จ เด็กจะมองโลกในแง่ดี มีความเชื่อมั่นและไว้วางใจผู้อื่น
    2. ด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี ไม่พอใจ จะมองโลกในแง่ร้าย ขาดความเชื่อมั่นในตนเองและไม่ไว้วางใจผู้อื่น
    3. การปฏิบัติการพัฒนาเด็กจัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อสภาพแวดล้อม ครู และเพื่อนๆ
    • เพียเจท์ ( Piaget )
    1. พัฒนาการทางด้านเชาว์ปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว
    2. เด็กมีการรับรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
    3. มีการปรับขยายประสบการณ์เดิม ความคิดและความเข้าใจให้ขยายมากขึ้น

    พัฒนาการของเด็กปฐมวัย ( 0-6 ปี )
             1) ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว วัย 0-2ปี เด็กเรียนรู้ทุกอย่างทางประสาทสัมผัสทุกด้าน
             2) ขั้นความคิดก่อนปฏิบัติการวัย 2-6 ปี เริ่มเรียนภาษาพูดและภาษาท่าทางในการสื่อสาร ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คิดหาเหตุผลไม่ได้ จัดหมวดหมู่ได้ตามเกณฑ์ของตนเอง
    1. การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
    2. จัดกิจกรรมให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
    3. จัดให้เด็กฝึกฝนทักษะ การสังเกต การจำแนกเปรียบเทียบ
    4. จัดกิจกรรมให้เด็กมีโอกาสคิดหาเหตุผล เลือกและตัดสินใจสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
    5. จัดให้เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งใกล้ตัวไปสู่เรื่องไกลตัวและมีลักษณะที่เป็นรูปธรรม
    • ดิวอี้ ( Dewey )
    1. เด็กเรียนรู้โดยการกระทำ การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก 
    2. จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ 
    3. พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู 
    4. จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อสภาพแวดล้อม ครู และเพื่อนๆ
    • สกินเนอร์ ( Skinner )
    1. ถ้าเด็กได้รับการชมเชยและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรมเด็กสนใจที่ทำต่อไป
    2. เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ไม่มีใครเหมือนใคร
    3. การปฏิบัติการพัฒนาเด็กให้แรงเสริม เช่น ชมเชย ชื่นชม เมื่อเด็กทำกิจกรรมประสบผลสำเร็จ 
    4. ไม่นำเด็กมาเปรียบเทียบแข่งขันกัน
    • เปสตาลอสซี่ ( Pestalozzi )
    1. ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา 
    2. เด็กแต่ละคนแตกต่างกัน ทั้งด้านความสนใจ ความต้องการ และระดับความสามารถในการเรียน
    3. เด็กไม่ควรถูกบังคับให้เรียนรู้ด้วยการท่องจำ
    4. การปฏิบัติการพัฒนาเด็กจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้ความรักให้เวลาและให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์
    • เฟรอเบล ( Froeble )
    1. ควรส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กด้วยการกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ อย่างเสรี 
    2. การเล่นเป็นการทำงานและการเรียนรู้ของเด็ก 
    3. การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก 
    4. จัดกิจกรรมเรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างเสรี
    • เอลคายน์ ( Elkind )
    1. การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เด็กเป็นอันตรายต่อเด็ก
    2. เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง
    3. การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
    4. จัดบรรยายกาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง
    5. การพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย




บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วันอังคาร ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2559



เนื้อหาที่เรียน
เด็กปฐมวัย
  • แรกเกิด - 5 ปี 11 เดือน 29 วัน
  • พัฒนาการ 4 ด้าน
  • การเลียนแบบ/อยากรู้อยากเห็น

skill (ทักษะ)

Application (การประยุกต์ใช้)

Self (ตนเอง)

Environment (สภาพแวดล้อม)

Teacher (อาจารย์)


สรุป
   การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องซึ่งจะบ่งบอกถึงความสามารถของเด็กในแต่ละระดับอายุ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลง ตามวุฒิภาวะ การเลียนแบบและอยากรู้อยากเห็นเป็นพฤติกรรมที่สะท้อนจากพัฒนาการ





ชดเชยครั้งที่ 1
วันอังคาร ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2559


ความรู้ที่ได้รับ
  - แนวทางการเรียน
  - รายละเอียดการทำบล๊อคภาษาอังกฤษ

รายละเอียดการทำบล๊อค

1.ชื่อบล๊อค 
2.คำอธิบาย
3.โครงสร้าง 

4.หน่วยงานสนับสนุน : มอค.3

5.งานวิจัยวิทยาศาสตร์ : ใช้ยังไง/แผนเขียนยังไง

6.บทความ : สกัดจากหลายๆ ที่เพื่อเกิดความตระหนักย้ำเตือน (หัวข้อใหญ่ รอง ย่อย)
7. สื่อ (เพลง/นิทาน/เกม/ของเล่น/แบบฝึก)

การบันทึก
1.ความรู้ที่ได้รับ : รายละเอียด
2.การประยุกต์ใช้ : การเข้าสู่บทเรียน/การออกแบบกิจกรรม
3.การประเมินผล : สภาพแวดล้อม/ตนเอง/ผู้สอน







วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิทยาศาสตร์คือ การศึกษาสืบค้นข้อมูลความจริงที่้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การทดลอง การใช้เหตุผล การสำรวจ การแก้ปัญหา การวิเคราห์ การสรุปผล เป็นค้น เพื่อให้ได้ความรู้และข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์
นิยาม
- สมมุติฐาน
- สังเกต
- ทดลอง 
- สำรวจ
- วิเคราะห์
- ขอบเขตเนื้อหา
- สรุป


ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่ตอบสนองต่อการดำรงชีวิตทำให้สะดวกสบาย สำคัญการสร้างเสริมประสบการณ์ให้ประโยชน์ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง

การประยุกต์ใช้
ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัย 2 ภาษา และเกิดทักษะภาษาอังกฤษมาขึ้น

ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจฟัง สนใจเวลาอาจารย์สอน และตั้งใจตอบคำถาม

ประเมินอาจารย์
อาจารย์อธิบายเนื้อหาอย่างละเอียด และชัดเจน